วันอาทิตย์ที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2562

รู้ทันข้อสะโพกเสื่อมหรือข้อสะโพกขาดเลือด

 รู้ทันข้อสะโพกเสื่อมหรือข้อสะโพกขาดเลือด

อาการสำคัญของข้อสะโพกเสื่อม
-ปวดบริเวณขาหนีบหรือต้นขาด้านหน้า
-ข้อสะโพกยึดติด, ขยับได้ไม่เต็มที่
-เดินผิดรูปหรือผิดปกติ

#ติดต่อสอบถามเพิ่มเติม
🏥 ศูนย์ฟื้นฟูข้อเสื่อม โรงพยาบาลเวชธานี
📞โทร. 02-734 - 0000 ต่อ 2222

_____________________________

อย่าลืมกด like และ 🌟กดติดดาว🌟 (see first) เพจ โรงพยาบาลเวช

ธานี-Vejthani Hospital เพื่อไม่พลาดข่าวสารสุขภาพและโปรโมชั่นดีๆ...
______________________________

#โรงพยาบาลเวชธานี #JCI #มาตรฐานJCI #โรงพยาบาลระดับสากล #เวช

ธานีลาดพร้าว111
💻 Website : "http://www.vejthan.com/"
📞 Call Center : 02-734-0000

วันเสาร์ที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2562

โรคไขกระดูกเอ็มดีเอส (MDS)

โรคไขกระดูกเอ็มดีเอส (MDS)
โรคอันตรายที่ควรรู้จัก

โรค MDS มีชื่อเต็มว่า Myelodysplastic syndrome เป็นกลุ่มโรคซึ่งเกิดจากความผิดปกติของเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือด (Stem cell) ทำให้มีการสร้างเม็ดเลือดที่ผิดปกติ หรือไม่สมบูรณ์ และสามารถพัฒนากลายเป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวหรือลิวคีเมียในอนาคตได้

ในปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด แต่มีปัจจัยเสี่ยงได้แก่ การได้รับยาเคมีบำบัด การสัมผัสสารเคมี เช่น สารเบนซีน ยาฆ่าแมลง การสูบบุหรี่ การฉายรังสี และปัจจัยทางพันธุกรรม

 MDS จัดเป็นโรคที่พบได้ไม่บ่อย ราวๆ 3-5 คนต่อประชากร 1แสนคน โดยมักพบในผู้สูงอายุ โดยเฉพาะอายุมากกว่า 70 ปี

อาการของโรค MDS เกิดจากการสร้างเม็ดเลือดที่ผิดปกติและไม่เพียงพอ ได้แก่ หากเม็ดเลือดแดงมีปริมาณน้อย จะทำให้มีอาการซีด อ่อนเพลีย  การสร้างเม็ดเลือดขาวได้น้อย จะเพิ่มโอกาสเสี่ยงติดเชื้อ และอาจจะทำให้ติดเชื้อได้รุนแรง และหากสร้างเกล็ดเลือดได้น้อย ทำให้มีอาการมีจุดจ้ำเลือดตามตัว เลือดออกตามไรฟัน เลือดออกผิดปกติได้

➕ การวินิจฉัย ทำได้โดยการเจาะตรวจ stem cellภายในไขกระดูกในคนไข้ที่มีภาวะเม็ดเลือดต่ำที่ไม่สามารถหาสาเหตุที่ชัดเจนอื่นๆได้

 การรักษาโรค MDS มีหลากหลาย ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรคและการเปลี่ยนแปลงของหน่วยพันธุกรรม เป้าหมายในการรักษาคือการแก้ไขภาวะเม็ดเลือดผิดปกติ การลดอาการไม่สุขสบาย และการชะลอการพัฒนาตัวโรคไปเป็นลูคีเมียในอนาคต การรักษามีได้ตั้งแต่ การให้เลือดเมื่อจำเป็น การรักษาด้วยฮอร์โมนกระตุ้นการสร้างเม็ดเลือด การให้ยามุ่งเป้า ไปจนถึงการปลูกถ่ายไขกระดูกในคนไข้ที่เหมาะสม

นพ.อิศรา อนงค์จรรยา
อายุรแพทย์โลหิตวิทยาและมะเร็งทางโลหิตวิทยา

#ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมได้ที่
🏥 Life Cancer Center
📞 โทร. 02-734-0000 ต่อ 2200, 2204

_____________________________

อย่าลืมกด like และ 🌟กดติดดาว🌟 (see first) เพจ โรงพยาบาลเวชธานี-Vejthani Hospital เพื่อไม่พลาดข่าวสารสุขภาพและโปรโมชั่นดีๆ...
______________________________

#โรงพยาบาลเวชธานี #JCI #มาตรฐานJCI #โรงพยาบาลระดับสากล #เวชธานีลาดพร้าว111
💻 Website : "http://www.vejthani.com/"
📞 Call Center : 02-734-0000

วันศุกร์ที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2562

ปัจจัยเสี่ยงเป็นโรคข้อสะโพกเสื่อม

 ปัจจัยเสี่ยงเป็นโรคข้อสะโพกเสื่อม

1.  ผู้ที่มีอายุ 50ปีขึ้นไป
2. ความผิดปกติแต่กําเนิด ของข้อสะโพก
3. การออกกำลังกายที่มีการกระแทกข้อซ้ำๆ ต่อเนื่องยาวนาน
4. ผู้ที่มีโรคข้ออักเสบจาก โรคข้อรูมาตอยด์ โรคข้อติดแข็ง โรคติดเชื้อ เป็นต้น
5. มีน้ำหนักตัวมาก
6. ผู้ที่เคยได้รับบาดเจ็บบริเวณรอบสะโพก เช่น ข้อหลุดเคลื่อน กระดูกหักเข้าข้อ เป็นต้น
7. พันธุกรรม
8. ใช้ยาสเตียรอยด์ต่อเนื่อง
9. ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ผสมเป็นประจำ

#ติดต่อสอบถามเพิ่มเติม
🏥 ศูนย์ฟื้นฟูข้อเสื่อม โรงพยาบาลเวชธานี
📞โทร. 02-734 - 0000 ต่อ 2222
_____________________________

อย่าลืมกด like และ 🌟กดติดดาว🌟 (see first) เพจ โรงพยาบาลเวชธานี-Vejthani Hospital เพื่อไม่พลาดข่าวสารสุขภาพและโปรโมชั่นดีๆ...
______________________________

#โรงพยาบาลเวชธานี #JCI #มาตรฐานJCI #โรงพยาบาลระดับสากล #เวชธานีลาดพร้าว111
💻 Website : "http://www.vejthani.com/"
📞 Call Center : 02-734-0000

วันพุธที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2562

เกลือกับโซเดียมแตกต่างกันอย่างไร

เกลือกับโซเดียมแตกต่างกันอย่างไร
ขอบพระคุณข้อมูลจากโรงพยาบาลสินแพทย์

#เกลือกับโซเดียมแตกต่างกันอย่างไร...?
.
#เกลือ คือ สารประกอบทางเคมีที่เรียกว่า  “#โซเดียมคลอไรด์”  จึงมักใช้แทนกันจนทำให้ หลายคนเข้าใจว่าเป็นสารเดียวกัน แต่ความจริงไม่ใช่แบบนั้นเพราะเกลือ คือ โซเดียม 40% + คลอไรด์ 60%
.
#โซเดียม คือ เกลือแร่ (สารอาหาร) ที่มีความจำเป็นต่อร่างกาย โดยโซเดียมจะทำหน้าที่ควบคุมความสมดุลของเหลวในร่างกาย รักษาความดันโลหิตให้อยู่ในระดับปกติ ช่วยในการทำงานประสาทและกล้ามเนื้อ ตลอดจนการดูดซึมสารอาหาร บางอย่างในไตและลำไส้เล็ก
.
#อันตรายเมื่อรับประทานโซเดียมมากเกินไป
 ....เมือรับประทานอาหารที่มีรสเค็ม โซเดียมจะเข้าสู่ร่างกายและปนในเลือด ทำให้เลือดเสียสมดุล หลอดเลือดจึงพยายามดูดซึมน้ำเข้ามาเจือจางโซเดียมจนทำให้แรงดันเลือดสูงขึ้น และหากรับประทานอาหารที่มีโซเดียมมากเกินไปบ่อยๆ อาจทำให้เกิดโรคเรื้อรังต่างๆ ได้ เช่น

#ความดันโลหิตสูง
#ไตวายเรื้อรัง
#เส้นเลือดอุดตันและเสี่ยงที่จะหัวใจวาย
#หัวใจขาดเลือด
#อัมพฤกษ์ อัมพาต
#กระดูกพรุน
#มะเร็งกระเพาะอาหาร
#จะส่งผลกระทบต่อระบบการทำงานของหัวใจ
.
ด้วยความห่วงใยจาก #โรงพยาบาลสินแพทย์ #โรงพยาบาลเด็กสินแพทย์  #ศูนย์หัวใจ #ศูนย์หัวใจล้มเหลว
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ 0 2793 5000
.
หรือ #คลิกแอดไลน์ โรงพยาบาลสินแพทย์ "https://goo.gl/ysdW8g"
ID line : @synphaetline

ความเข้าใจผิดที่พบได้บ่อยเกี่ยวกับโคเลสเตอรอล

ความเข้าใจผิดที่พบได้บ่อยเกี่ยวกับโคเลสเตอรอล

วันจันทร์ที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2562

วันเสาร์ที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2562

วันพฤหัสบดีที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2562

กระดูกพรุนโรคที่ป้องกันได้

กระดูกพรุนโรคที่ป้องกันได้
แค่ปรับ..ชีวิตก็เปลี่ยน "กระดูกพรุน..โรคที่ป้องกันได้" เริ่มต้นง่ายๆ ที่ตัวคุณ และคนที่คุณรัก ป้องกันอย่างไร ? มาดูกัน !!!

👉ติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ที่ 02 089 1111 หรือ 1307
Line@ : @malihospital
หรือ กด Link "https://line.me/R/ti/p/%40malihospital"

ติดตามข้อมูลข่าวสาร โปรโมชั่นได้ที่ โรงพยาบาลสหวิทยาการมะลิ MALI-ih

#โรงพยาบาลสหวิทยาการมะลิ #รักษาโรคเรื้อรังแนวใหม่ #เวชศาสาตร์ฟื้นสภาพ #เวชศาสาตร์ชะลอวัย #ศูนย์กระดูกและข้อ #ศูนย์สูตินรีเวช #โรคนอนไม่หลับ #ศูนย์หัวใจและหลอดเลือด #ศูนย์ผ่าตัด #แผนกอายุรกรรม #อายุรกรรมหัวใจ #แผนกจักษุ #แผนกกายภาพ #แพทย์แผนไทย #แผนจีน #รักษาด้วยสเต็มเซลล์ #รักษาด้วยฮอร์โมน #การรักษาแนวใหม่

วิธีดูแลรักษาตับให้แข็งแรง ด้วย 5 เคล็ดลับง่ายๆ

วิธีดูแลรักษาตับให้แข็งแรง ด้วย 5 เคล็ดลับง่ายๆ
ขอบพระคุณข้อมูลจาก Roowai


วันพุธที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2562

ไขมันตับจะเอาไขมันออกจากตับได้อย่างไร

ไขมันตับจะเอาไขมันออกจากตับได้อย่างไร
งานเสวนารู้ทันโรคตับ ตอนก้าวทันการรักษาโรคตับ
ขอบพระคุณศูนย์โรคตับ รพ.จุฬาลงกรณ์


วันอังคารที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2562

การฟื้นฟูตับโดยหมออาคิรา ลิ้มสุวัฒน์

การฟื้นฟูตับโดยหมออาคิรา ลิ้มสุวัฒน์ รายการ Happy Living
ขอบพระคุณ BAAC-Bangkok Anti-Aging Center

วันจันทร์ที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2562

การควบคุมอาหารและรู้จักเลือกกินอาหารที่เหมาะสมในปริมาณที่ถูกสัดส่วนกับความต้องการของร่างกาย

การควบคุมอาหารและรู้จักเลือกกินอาหารที่เหมาะสมในปริมาณที่ถูกสัดส่วนกับความต้องการของร่างกาย ถือเป็นวิธีหนึ่งในการรักษาและป้องกันโรคเบาหวาน
.
อาหารสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน "http://bit.ly/2NVOZ1b"
.
ซึ่งหลักการกินอาหารสำหรับผู้ที่เป็นเบาหวาน ไม่ได้แตกต่างจากหลักการกินเพื่อให้มีสุขภาพดีของคนทั่วไป นั่นก็คือการกินอาหารให้ครบหมู่ ถูกสัดส่วน ในปริมาณพอเหมาะและมีความหลากหลาย
.
โดยอาหารสำหรับผู้ป่วยเบาหวานแบ่งง่ายๆ เป็น 3 ประเภท ได้ดังนี้ครับ...
.
1. อาหารที่ไม่ควรทาน  เช่น น้ำตาลทุกชนิด  เครื่องดื่มที่มีน้ำตาลเป็นส่วนผสม ผลิตภัณฑ์จากนม ผลไม้แปรรูป กวน แช่อิ่ม เชื่อม ตากแห้ง รวมถึงผลไม้ในน้ำเชื่อมบรรจุกระป๋อง อาหารที่ปรุงด้วยไขมันอิ่มตัว เนื่องจากอาหารเหล่านี้ มีน้ำตาลเป็นส่วนประกอบหลัก จึงไม่เหมาะกับผู้ป่วยเบาหวาน เพราะจะทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว
.
2. อาหารที่ทานได้ ไม่จำกัด ได้แก่ ผักใบเขียวทุกชนิด ควรรับประทานทุกวัน และทุกมื้อให้หลากหลายชนิดในหนึ่งวัน อาหารเหล่านี้เป็นอาหารที่แคลอรี่ต่ำ และมีใยอาหารสูง ทำให้การดูดซึมน้ำตาลช้าลง อีกทั้งใยอาหารยังช่วยดูดซับน้ำตาล ไม่ให้เข้าสู่กระแสเลือดเร็วเกินไป ทำให้ร่างกายสามารถดึงน้ำตาลไปใช้ได้พอดี
.
3. อาหารที่ทานได้ แต่จำกัดปริมาณ ได้แก่ ผลไม้ แม้ว่าผลไม้จะมีน้ำตาล แต่ก็ยังมีวิตามิน แร่ธาตุ และใยอาหาร ดังนั้นผู้ที่เป็นโรคเบาหวานจึงไม่ควรงด แต่ควรทานในปริมาณที่เหมาะสม และหลีกเลี่ยงผลไม้บางชนิดที่มีรสหวานจัดๆ อาหารประเภทข้าว แป้ง โดยอาหารจำพวกแป้งจะถูกย่อยเปลี่ยนให้เป็นน้ำตาล และเป็นแหล่งพลังงานที่สำคัญของร่างกาย ผู้เป็นโรคเบาหวานจึงไม่ควรงด แต่ควรได้รับให้เหมาะสมกับแรงงานและกิจกรรมที่ทำ
.
ทั้งนี้การที่จะควบคุมโรคเบาหวานให้อยู่หมัด จำเป็นต้องลดทั้งหวาน มัน เค็ม และเพิ่มผัก รวมถึงออกกำลังกายสม่ำเสมอ การดูแลทั้งหมดนี้ไปพร้อมๆ กัน เป็นสิ่งสำคัญที่จะป้องกันและควบคุมเบาหวาน ช่วยให้สุขภาพของเราดีได้อย่างยั่งยืน... สงสัยอะไร? คอมเมนต์ถามหมอได้เลยนะครับ
.
***ไม่พลาดข้อมูลสุขภาพแบบทันเหตุการณ์กับหมอราม อย่าลืมกดปุ่ม “See First” หรือ “เห็นโพสก่อน” ด้วยนะครับ ***
 #อบอุ่น #เชี่ยวชาญ #โรงพยาบาลรามคำแหง


วันอาทิตย์ที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2562

วันเสาร์ที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2562

วันศุกร์ที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2562

วันอังคารที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2562

วันจันทร์ที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2562

วันอาทิตย์ที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2562

ตำแหน่งปวดสามารถบอกโรคที่เราต้องสงสัยว่าอาจจะเป็น!

ตำแหน่งปวดสามารถบอกโรคที่เราต้องสงสัยว่าอาจจะเป็น!

โอย..ปวดท้องง..ง..ง. ตำแหน่งปวดสามารถบอกโรคที่เราต้องสงสัยว่าอาจจะ

เป็น!
1. ปวดใต้ลิ้นปี่  อาจเป็นโรคกระเพาะอาหาร, กรดไหลย้อน
2. ปวดท้องน้อยซ้าย  อาจเป็นปีกมดลูกอักเสบ
3. ปวดรอบสะดือ อาจเป็นลำไส้อักเสบ
4 ปวดท้องน้อยขวา อาจเป็นไส้ติ่งอักเสบ 
5. ปวดท้องน้อย อาจเป็นกระเพาะปัสสาวะอักเสบ และถุงน้ำรังไข่   

อย่าเพิ่งตกใจมาปรึกษาหมอผ่านมือถือที่แอปฯ Raksa ก่อน

"http://onelink.to/raksa" โหลดเก็บไว้ อุ่นใจเหมือนมีคุณหมอข้างกาย

วันเสาร์ที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2562

ควันบุหรี่ในบ้านกับโรคภูมิแพ้

ควันบุหรี่ในบ้านกับโรคภูมิแพ้

ขอบพระคุณข้อมูลจากมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่


วันศุกร์ที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2562

วันอังคารที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2562

กระดูกทับเส้น......ป้องกันได้!!

กระดูกทับเส้น......ป้องกันได้!! ขอบพระคุณเจ้าของข้อมูล ใครไม่เคยปวดหลังร้าวชาลงขา เดินไม่ได้ ก้มไม่ได้ ต้องไม่เคยลิ้มรสความทรมานจากโรคก...